วันเสาร์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 13 วันจันทร์ที่ 21 /11/2559


record 13 21 november 2016





เนื้อหาที่เรียน  ความรู้ที่ได้รับ

กิจกรรมการเรียนการสอนวันนี้ อาจารย์ให้นักศึกษานั่งเป็นวงกลม อาจารย์พาร้องเพลงและให้นักศึกษาทำท่าประกอบตามเพลงรำวงไปเรื่อยๆ พอเพลงหยุดอาจารย์สั่งให้จับกลุ่ม ตามจำนวนที่อาจารย์บอกและทำกิจกรรมต่อไป













  • อาจารย์ให้นักศึกษานั่งตามกลุ่มของตนเองพร้อมทั้งแจกกระดาษเอสี่ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มโดยให้ช่วยกันระดมความคิดแต่งนิทาน 1 เรื่อง โดยในนิทานนั้นจะต้องมีสิ่งที่ไม่มีชีวิตสามารถพูดได้  





 กลุ่มของดิฉัน แต่งนิทานเรื่อง "ยีราฟกระหายน้ำ"


  • เพื่อน ๆ นำเสนอนิทานของกลุ่มตนเอง



กลุ่มที่ 1 เรื่อง ฉันอยากเดินได้




กลุ่มที่ 2 เรื่อง ยีราฟผู้กระหายน้ำ



กลุ่มที่ 3 เรื่อง ป่ามหัศจรรย์






กลุ่มที่ 4 เรื่อง เพื่อนรัก











 กลุ่มที่ 5 เรื่อง เจ้าหญิงกบ




  •  หลังจากเพื่อน ๆ นำเสนอนิทานเสร็จ อาจารย์ให้แต่ละคนบอกถึงประโยชน์ที่ได้จากการทำกิจกรรมนี้พร้อมทั้งบอกภาพรวมของการทำงานเป็นกลุ่มในครั้งนี้


  • กิจกรรมต่อมา อาจารย์ให้นักศึกษายืนเป็นวงกลมพร้อมทั้งรำวงไปเรื่อย ๆ เพื่อจับกลุ่มใหม่ โดยแต่ละคนห้ามอยู่กับเพื่อนกลุ่มเดิม
  • และเริ่มทำกิจกรรมต่อมา คือ อาจารย์ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดเพลงพร้อมทั้งเครื่องดนตรีจากส่วนต่างๆของร่างกายเรา เพื่อทำให้มีจังหวะและสนุกสนาน 









 "บ้านของฉัน" 







การประเมินผล
ประเมินตนเอง : ตั้งใจเรียนในขณะที่อาจารย์สอนและตั้งใจทำงานกลุ่มเป็นอย่างดี
ประเมินเพื่อน : เพื่อน ๆ ตั้งใจเรียนและไม่คุยกันในเวลาเรียน
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ เตรียมการสอนมาดีมาก การเรียนเป็นไปอย่างเป็นลำดับขั้นตอน มีเทคนิคการสอนที่น่าสนใจ สามารถอธิบายและยกตัวอย่างให้นักศึกษาได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น





วันอังคารที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 12 วันจันทร์ที่ 14/11/2559

RECORD 12    14 november 2016




-อาจารย์ทบทวนความรู้เดิมจากวันแรกที่เราเจอกันในรายวิชาการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัยว่าอาจารย์ได้สอนอะไรไปบ้าง

เนื้อหาการเรียนการสอน

อาจารย์ถามว่า
เมื่อเห็นภูเขานึกถึงอะไร
  • -ต้นไม้
  • -ก้อนหิน
  • -อากาศ
  • -สายน้ำ
  • -ท้องฟ้า  ทั้งหมดนี้เรียกความคิดสร้างสรรค์ทางภาษา
  • -หลังเต่า
  • -นม นี้เรียกว่าความคิดสร้างสรรค์เชิงเปรียบเทียบ

การเคลื่อนไหวและจังหวะที่นำมาใช้ให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
  • การเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย
  • การเคลื่อนไหวประกอบเพลง
  • การเคลื่อนไหวแบบผู้นำผู้ตาม
  • การเคลื่อนไหวแบบตามคำสั่ง
  • การเคลื่อนไหวแบบความจำ
  • การเคลื่อนไหวแบบข้อตกลง
-ต่อมาอาจารย์ให้แบ่งกลุ่มกลุ่มละ 6 กลุ่มเท่าๆกันแล้วเลือกหัวข้อเพื่อที่จะทำการสอนตามหัวข้อของแต่ละกลุ่ม


กลุ่มที่ 1 การเคลื่อนไหวตามข้อตกลง




กลุ่มที่ 2 การเคลื่อนไหวประกอบเพลง




กลุ่มที่ 3 การเคลื่อนไหวแบบผู้นำผู้ตาม




กลุ่มที่ 4 การเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย



กลุ่มที่ 5 การเคลื่อนไหวตามความจำ



กลุ่มที่ 6 การเคลื่อนไหวพร้อมอุปกรณ์





ประเมินตนเอง : ตั้งใจเรียนในขณะที่อาจารย์สอนและสนุกกับกิจกรรม

ประเมินเพื่อน : เพื่อน ๆ ตั้งใจเรียน ทุกคนสนุกกับกิจกรรมที่ทำเป็นอย่างมาก

ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ เตรียมการสอนมาดีมาก การเรียนเป็นไปอย่างเป็นลำดับขั้นตอน มีเทคนิคการสอนที่น่าสนใจ สามารถอธิบายและยกตัวอย่างให้นักศึกษาได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น








วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 11 วันจันทร์ที่ 31 /10/.2559



RECORD  11  31 october 2016


เนื้อหาที่เรียนความรู้ที่ได้รับ



     - กิจกรรมการเรียนการสอนวันนี้ อาจารย์ให้นักศึกษาแต่ละคนนำเสนอสิ่งประดิษฐ์ของตนเอง





                                                     1. โฮโรแกรมสามมิติ ( อาฟง )







2. เตาอบป๊อบคอร์น  ( เบียร์ )



3. รถขับเคลื่อนด้วยหนังยาง ( นัตตี้ )


4. เตาปิ้งแบบพกพา  ( แตงโม )







5. โคมไฟจากขวดน้ำกับช้อน  ( อันเม )


6. อ่างล้างจาน  ( แอม )


7. เตาแก๊ส  ( เค้ก )

8. หมวกจากกล่องนม ( มุก )






9. กระเป๋าจากกล่องนม ( มาย )


10. เครื่องคิดเลข  ( อันชัน )


11. ถังขยะจากขวดน้ำ ( เปิ้ล )



12. เสื่อจากกล่องนม  ( แอ๋ม )


13. บัวรดน้ำจากกระป๋อง  ( ต้นส้ม )



14. กล่องดินสอจากขวดพลาสติก  ( ดาวค้างฟ้า )


15. โต๊ะเขียนหนังสือ  ( จ๊ะเอ๋ )


16. ลิ้นชัก  ( อุ้ม ) 


17. กระเป๋าจากกล่อง  ( เป้ )


18. รอยเชือกรองเท้า  ( อ้อน )


19. ที่เช็ดรองเท้า  ( หญิง )


20. ฝาชีจากก้นขวดน้ำ  ( แคท )


21. ที่คาดผมจากฝาปิดกระป๋อง  ( เมโก๊ะ )


22. เครสโทรศัพท์จากกระป๋อง  ( แพร )


23. ตู้เย็นจากขวดน้ำ  ( ปลา )

 


     - กิจกรรมต่อมา อาจารย์ให้ตั้งประเด็นปัญหาจากสิ่งที่เราประดิษฐ์
  • ถ้าเราอยากให้เด็กมีประสบการณ์ประสานสัมพันธ์ระหว่างตากับมือเราจะทำอะไรได้บ้างจากวัสดุเหลือใช้
การตั้งประเด็นปัญหา มี 2 แบบคือ


1. ตั้งปัญหา 


2. ตั้งเป้าหมาย 

    - กิจกรรมสุดท้ายของวันนี้คือ อาจารย์ให้ทำงานกลุ่มตัวเลขให้เสร็จ เพื่อเตรียมตัวส่งในสัปดาห์หน้า














ประเมินตนเอง : ตั้งใจเรียนในขณะที่อาจารย์สอนและสนุกกับกิจกรรม

ประเมินเพื่อน : เพื่อน ๆ ตั้งใจเรียน ทุกคนสนุกกับกิจกรรมที่ทำเป็นอย่างมาก

ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ เตรียมการสอนมาดีมาก การเรียนเป็นไปอย่างเป็นลำดับขั้นตอน มีเทคนิคการสอนที่น่าสนใจ สามารถอธิบายและยกตัวอย่างให้นักศึกษาได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น